วันพุธที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2554

วงปี่พาทย์เครื่องห้า


 

วงปี่พาทย์เครื่องห้า

Homeระนาดเอกผู้จัดทำ

วงปี่พาทย์เครื่องห้า 
          
เป็นวงหลักที่เกิดขึ้นก่อนวงปี่พาทย์ประเภทอื่นประกอบ ไปด้วยเครื่องดนตรี ดังนี้ - ปี่ใน 1 เลา - ตะโพน ลูก - ระนาดเอก ราง
- ฉิ่ง 
คู่ - ฆ้องวงใหญ่ วง - กลองทัด ลูก
     ปี่ใน ตะโพน ระนาดเอก ฉิ่ง ฆ้องวงใหญ่ กลองทัด


วงปี่พาทย์เครื่องคู่
          
เกิดขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ รัชการที่ ได้ มีผู้คิดประดิษฐ์ ระนาดทุ้ม และ ฆ้องวงเล็ก ขึ้นจึงเกิดการประสมวง
ใหม่โดยนำระนาดทุ้ม และฆ้องวงเล็กรวมเข้ากับวงปี่พาทย์เครื่องห้าเดิมและเพิ่มเติม
 ปี่นอก ซึ่งใช้ในการบรรเลง วงปี่พาทย์สำหรับการแสดง หนังใหญ่ เพื่อให้เครื่องดนตรีดำเนินทำนองทุกชนิดในวงมีจำ นวนเป็นคู่จึงประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีดังนี้

ปี่ใน เลา - ปี่นอก เลา - ระนาดเอก 1 ร าง - ระนาดทุ้ม 1 ราง - ฆ้องวงใหญ่ 1 วง - ฆ้องวงเล็ก 1 วง - กลองทัด คู่ - ตะโพน 1 ลูก
- ฉิ่ง
 1 คู่ - ฉาบเล็ก 1 คู่ - โหม่ง 1 ใบ - กลองสองหน้า 1 ลูก หรือ กลองแขก 1 คู่
   สองหน้ากลองแขก  ฆ้องวงใหญ่    โหม่ง    ฆ้องวงเล็ก ฉาบเล็ก กลองทัด
 ปี่นอกตะโพนระนาดเอกฉิ่งระนาดทุ้มปี่ใน


วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่
          
เกิดขึ้นในสมัยรัชการที่ และ โดยเพิ่ม ระนาดเอกเหล็ก และ ระนาดทุ้มเหล็ก เข้าไว้กับวงปี่พาทย์เครื่องคู่โดยตั้งระนาดเอกเหล็ก ไว้ทางริมด้านขวามือและระนาดทุ้มเหล็กไว้ที่ริมด้านซ้ายมือซึ่งนักดนตรีทั่วไปนิยมเรียก ว่า "เพิ่มหัวท้าย" ดังแผนภูมิต่อไปนี้
วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่
วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ รัชการที่ บางวงได้ เพิ่มเติมจำนวนกลองทัดเป็น ถึง ใบ ส่วนฉาบใหญ่
นั้นมีการนำมาใช้ในสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ รัชการที่ 
5
ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุ้มเหล็ก
หมายเหตุ วงปี่พาทย์ทั้ง ประเภทข้างต้นถ้ามีการบรรเลงเพลงภาษาก็สามารถ ใช้เครื่องกำกับจังหวะของภาษานั้นๆ เช่น ตะโพน เปิงมาง
กลองจีน
  หรือ กลองมะริกัน เป็นต้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น